วันอาทิตย์ที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่6


บันทึกผลการเรียนรู้ประจำสัปดาห์

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย วันที่ 16 เดือน กันยายน  2557

ชื่อ นางสาว น้ำผึ้ง สุขประเสริฐ   กลุ่มเรียน 102 เวลา 14.10 น. - 17.30 น.




ความรู้ที่ได้รับ(The Knowledgo Gained  )


      สำหรับวันนี้การเรียนการสอนเริ่งจากการกิจกรรมการทำลูกยาง โดยอาจารย์เตรียมกระดาษและอุปกรณ์มาให้ แล้วสอนวิธีการทำลูกยาง ถ้านำกิจกรรมนี้ไปใช้กับเด็ก ให้เด็กได้สร้างผลงานด้วยตนเอง ตามทฤษฎี Constructivism ให้ผู้เรียนได้สร้างความรู้ด้วยตนเอง






และวันนี้ก็มีการนำเสนอบทความของเพื่อนๆ ดังนี้

บทความเรื่อง สอนเด็กปฐมวัยเรียนวิทย์จากเป็ดและไก่
      ผู้เขียน: ครูลำพรรณี  มืดขุนทด 
          เรียนรู้ผ่านนิทานเรื่อง หนูไก่คนเก่ง มีขั้นตอนดังนี้                        
                - นำเด็กร้องเพลงไก่ และทำท่าทางตามอิสระ              
                - สนทนาตั้งคำถามกับเด็ก "ไก่กับเป็ดเหมือนหรือต่างกันอย่างไร"            
                - ให้เด็กวาดภาพตามจินตนาการ และครูก็บันทึกคำพูดที่เด็กบอกลงภาพนั้นๆ


บทความเรื่อง 5 แนวทางให้เด็กทดลองวิทยาศาสตร์
           ผู้เขียน: ดร.เทพกัญญา  พรหมขัติแก้ว
           ขั้นตอนการจัดกิจกรรม         
           - ตั้งคำถามให้เด็กสามารถตรวจสอบด้วยตนเอง
           - ออกไปหาคำตอบด้วยกัน
           - เมื่อขั้น2 สำเร็จ เด็กจะเอาคำตอบที่พบมาตอบคำถามเอง
           - นำเสนอสิ่งที่เขาสำรวจตรวจสอบมาแล้วให้กับเพื่อนๆ     


บทความเรื่อง วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
       ผู้เขียน: มิสวัลลภา  ขุมหิรัญ
        การจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
       - สนับสนุนและส่งเสริมความอยากรู้อยากเห็นของเด็ก
       - สนับสนุนและส่งเสริมความต้องการในการตั้งคำถาม
       - ส่งเสริมการใช้ประสาทสัมผัสในการเรียนรู้ สำรวจ ตรวจสอบ จำแนกสิ่งต่างๆ
       - ส่งเสริมกระบวนการคิด
       - ส่งเสริมจินตนาการและความคิดร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์
 

บทความเรื่อง โลกของเราดำเนินอยู่ได้อย่างไร
ผู้เขียน: สสวท.
      ให้เด็กๆได้ทำกิจกรรมเรียนรู้ผ่านการสืบเสาะหาความรู้ การคิดละลงมือแก้ปัญหาด้วยประสบการณ์ตรงอย่างเหมะสมกับวัย และเป็นไปตามหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย




อาจารย์ได้สอนต่อโดยใช้ Power Point เรื่องทักาะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยมีเนื้อหาดังนี้














มื่ออาจารย์บรรยายเนื้อหาเสร็จ ก็ให้นักศึกษาเอา Mind Map ที่ไปทำมาในแต่ล่ะกลุ่มออก

 กิจกรรมให้ห้องเรียน










การนำไปใช้ (Application)

         สามารถนำความรู้ที่ได้จากในห้องเรียนนำไปใช้ในการเรียนการสอนในอนาคตได้ ได้รู้ทักษะกระบวนการคิดต่างๆที่เป็นประโยชน์สาสมารถนำไปประยุกต์และปรับใช้ในชีวิตจริงได้ เช่น การประดิษฐ์ลูกยางจากกระดาษ การทำ Mind Map ของเพื่อนแต่ล่ะกลุ่ม สามารถนำไปใช้สอนเด็กเรียนรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ได้


การประเมินผล ( Evaluation )


  ประเมินตนเอง (Self)   = วันนี้ตั้งใจฟังอาจารย์สอนเป็นอย่างดี เวลาอาจารย์ถามคำถามก็ช่วยเพื่อนตอบ แต่ก็ตอบไม่ได้ทุกคำถาม


  ประเมินเพื่อน (Friend)  =  ส่วนใหญ่ก็จะตั้งใจเรียนตั้งใจฟังอาจารย์กันดี จะมีเพียงบางส่วนเท่านั้นที่คุยกัน และโดยภาพรวมแล้วเพื่อนๆก็คอยช่วยกันตอบคำถามอาจารย์ มีส่วนร่วมภายในห้องเรียนกันเกือบทุกคน   

 ประเมินครูผู้สอน (Teacher) =  อาจารย์มีการเรียนการสอนที่ต้องการให้นักศึกษามีการแสดงความคิดเกี่ยวกับเนื้อหาและอาจารย์ได้สรุปบทความของเพื่อนๆที่ออกมานำเสนอ และอธิบาย Mind Map ที่เพื่อนๆทำมา ให้นักศึกษาเข้าใจมากยิ่งขึ้น




 

 

วันเสาร์ที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 5


บันทึกผลการเรียนรู้ประจำสัปดาห์


วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย วันที่ 16 เดือน กันยายน  2557

ชื่อ นางสาว น้ำผึ้ง สุขประเสริฐ   กลุ่มเรียน 102 เวลา 14.10 น. - 17.30 น.



ความรู้ที่ได้รับ(The Knowledgo Gained  )

    วันนี้ครูให้ฟังเพลงและดูคลิปวิดิโอที่เด็กมัธยมจัดทำขึ้น และได้ให้เพื่อนๆออกไปนำเนอบทความ  หลังจากนั้นคุณครูก็วิเคราะห์บทความของเพื่อนๆ   อาจารย์ได้นำสิ่งที่เหมือนกล้องส่องทางไกลมาให้ดู และมีกิจกรรมให้ทำโดยมีการแจกอุปกรณ์และอธิบายขั้นตอนดังนี้



อุปกรณ์

- กระดาษ A4

-ไม้เสียบลูกชิ้น

-สีเมจิก

-เทปกาว


ขั้นตอน 

1.ให้กระดาษมาแบ่งกัน 4 คน ต่อ กระดาษ 1 แผ่น 

2.แล้ววาดภาพ 2 อัน คือ อันแรกวาดรูปตะกร้า และอีกด้านหนึ่งวาดผลไม้ ให้ทั้งสองด้านมีความสัมพันธ์กัน 

3.ติดไม้เสียบลูกชิ้นกับกระดาษไว้ตรงกลางและเอาเทปกาวติดรอบๆ แล้วลองหมุนดู


รูปกิจกรรม





นำไปประยุกต์ใช้ (Appllications)

    - นำความรู้ที่ได้รับไปใช้ต่อยอดเป็นแนวทางในการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม
      - สามารถนำเทคนิคการสอนของอาจารย์ไปปรับใช้ในการสอนของเราได้ และเลือกจัดประสอบการณ์ให้เหมาะสมกับเด็กแต่ละวัย ตรงตามความต้องการของเด็ก

การประเมินผล (Evaluation)

Self = ตั้งใจฟังอาจารย์สอน ไม่ค่อยคุย สามารถตอบคำถามอาจารย์ได้

Friends = เพื่อนๆตั้งใจฟังบทความที่เพื่อนออกไปนำเสนอ ให้ความร่วมมือในการตอบคำถาม แต่จะมีบางครั้งที่เพื่อนคุยกันบ้าง

Teachers =  อาจารย์มีการถามคำถามให้ตอบ เพื่อกระตุ้นให้นักศึกษาได้มีส่วนร่วมในการเรียนการสอนมากขึ้น นอกจากนี้อาจาย์ยังสอนการทำสื่อ เพื่อให้นักศึกษานำไปใช้ในการสอนของตนเองได้






วันศุกร์ที่ 26 กันยายน พ.ศ. 2557

สรุป ความลับของแสง









นำไปประยุกต์ใช้ 

-สามารถนำความรู้ที่ได้รับ ไปใช้ในการสอนและการจัดกิจกรรมให้แก่เด็กในด้านวิทยาศาสตร์ เรื่องเกี่ยวกับแสง เช่น สีของรุ้ง


วันพุธที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2557

บทความ


 กิจกรรมที่ส่งเสริมทักษะทางวิทยาศาสตร์ในเด็กปฐมวัย (กิจกรรมทำอาหาร)

          วิทยาศาสตร์มีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในชีวิตประจ ำวันของคนเรา จะเห็นว่า แม้แต่เด็กปฐมวัยก็ยังได้รับประสบการณ์ในชีวิตประจำวันที่มีความเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ทั้งสิ้น ประกอบกับเด็กปฐมวัยมีความอยากรู้อยากเห็นและมักจะตั้งคำถามกับสิ่งรอบตัวอยู่ตลอดเวลา ด้วยเหตุนี้ เด็กปฐมวัยควรจะได้รับการส่งเสริมและพัฒนาทักษะที่จำเป็นในการค้นคว้าหาความรู้ เพื่อที่จะได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมรอบตัวที่เกิดขึ้นในธรรมชาติ และ สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้น และ จะได้มีโอกาสพัฒนา และ ประยุกต์ความรู้เหล่านั้นไปใช้ให้เป็นประโยชน์ต่อไปในอนาคต
     การประกอบอาหาร เป็นกิจกรรมหนึ่งที่ส่งเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ให้แก่เด็กปฐมวัย  โดยทั่วไปแล้ว เด็กเล็กๆในวัยนี้มักจะไม่ได้รับอนุญาตจากผู้ปกครองให้ช่วยทำอาหาร อาจจะเป็นเพราะเกรงในเรื่องความปลอดภัย หากใช้มีดที่มีความคม หรือ หากต้องประกอบอาหารโดยใช้ความร้อน แต่หากมองอีกแง่มุมหนึ่ง การประกอบอาหารเป็นกิจกรรม และ จัดว่าเป็นสื่อการสอนอย่างดีที่จะช่วยพัฒนาทักษะ ความรู้ และ ความเข้าใจในแนวคิดทั้งทางวิทยาศาสตร์ และ คณิตศาสตร์ หากครู และ ผู้ปกครองให้ความช่วยเหลือเด็ก อยู่ใกล้ๆ และ คอยระมัดระวังอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นกับเด็กในขณะทำอาหาร เด็กก็จะได้รับประโยชน์จากกิจกรรมประกอบอาหารอย่างมาก
    ดังได้กล่าวแล้วว่า การประกอบอาหารเป็นกิจกรรมหนึ่งที่ส่งเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ให้แก่เด็กปฐมวัย เพราะเป็นกิจกรรมที่เด็กได้รับประสบการณ์ตรงตั้งแต่ขั้นเตรียมอุปกรณ์ และ ส่วนผสม  ส่วนประกอบที่นำมาใช้ในการประกอบอาหารก็ล้วนแต่เป็นของจริง ทำให้เด็กเกิดความสนใจ และ ช่วยทำให้เด็กจดจำง่าย  ในขณะทำอาหาร เด็กต้องใช้การสังเกตปริมาณส่วนผสม ส่วนประกอบของอาหารที่จะทำรวมถึงการสังเกตการเปลี่ยนแปลงของสิ่งที่นำมาทำเป็นอาหาร การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ การเปรียบเทียบรสชาติ ในขณะทำอาหาร เด็กได้พัฒนาแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับ ขนาด รูปร่าง ตัวเลข จำนวน สี การชั่ง ตวง การดมกลิ่น การรู้รส ซึ่งจะทำให้เด็กรับรู้ความเหมือน ความต่าง และ ความหมายของสิ่งที่เด็กได้รับรู้นั้น นอกจากนี้ เด็กก็ยังได้เรียนรู้ทักษะการจำแนก เช่น จำแนกส่วนประกอบอาหารที่นำมา เช่น ส้มเขียวหวาน ส้มโอ มะนาว ว่ามีรูปทรงกลมเหมือนกัน ขนาดต่างกัน รสชาติเปรี้ยวเหมือนกัน หรือ เด็กๆอาจจะแบ่งประเภทของอาหารตามเกณฑ์อื่นๆ เช่น สี จำนวน รูปร่าง และ ประเภท ในการจัดกิจกรรมประกอบอาหารนี้ครูอาจจะสร้างสถานการณ์เพื่อกระตุ้นให้เด็กมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ได้ด้วย เช่น ให้เด็กๆช่วยกันคิดว่า ถ้าเราจะลองทำไข่ยัดไส้ เด็กๆอยากจะใส่ส่วนผสมอะไรได้บ้าง เป็นต้น  

   http://goo.gl/WdPt5Q



วันอาทิตย์ที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่ 4

บันทึกผลการเรียนรู้ประจำสัปดาห์


วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย วันที่ 9 ดือน กันยายน 2557
ชื่อ นางสาว น้ำผึ้ง  สุขประเสริฐ  กลุ่มเรียน 102 เวลา 14.10 น. - 17.30 น.
 



ความรู้ที่ได้รับ




การนำไปประยุกต์ใช้

         สามารถนำเอาความรุ้ที่ได้รับในวันนี้ไปปรับใช้ในการเรียนการสอนของเราได้ และนำไปทฤษฏีของแต่ละบุคคลไปใช้ให้เหมาะสมกับเด็กปฐมวัยได้อย่างถูกต้อง และถามความต้องการของเด็ก


การประเมินผล

      ประเมินตนเอง = วันนี้ฟังตั้งฟันอาจารย์อธิบายเป็นอย่างดี แต่มีบางครั้งที่หันไปคุยกะเพื่อน เพราะบางครั้งก็ไม่ทันเวลาที่อาจารย์อิธิบาย 

      ประเมินเพื่อน = เพื่อนๆตั้งใจฟังอาจารย์สอนอย่างดี เรื่องในที่ไม่เข้าใจ เพื่อนๆของถามอาจารย์
  
      ประเมินอาจารย์  = วันนี้อาจารย์สอนดี อธิบายเข้าในง่าย




บันทึกอนุทินครั้งที่ 3

บันทึกผลการเรียนรู้ประจำสัปดาห์ 

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย วันที่ 2 เดือน กันยายน  2557
ชื่อ นางสาว น้ำผึ้ง  สุขประเสริฐ กลุ่มเรียน 102 เวลา 14.10 น. - 17.30
น.


             สัปดาห์นี้อาจารญให้ไปเข้าร่วมกิจกรรมที่ทาง คณะศึกษาศาสตร์จัดขึ้น คือ โครงการศึกษาศาสตร์วิชาการ "thinking Faculty" ณ สนามกีฬาในร่






































          


วันพุธที่ 17 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทึกครั้งที่2


บันทึกผลการเรียนรู้ประจำสัปดาห์


วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย วันที่ 9เดือน กันยายน  2557
ชื่อ นางสาว น้ำผึ้ง สุขประเสริฐ   กลุ่มเรียน 102 เวลา 14.10 น. - 17.30 น.








ความรู้ที่ได้รับ








การนำไปประยุกต์ใช้


          สามารถนำไปปรับใช้ในการเรียนการสอนของเราได้ และบูรณาการให้เหมาะสมกับเด็กปฐมวัย สามารถนำไปศึกษาต่อเพื่อทำความเข้าใจกับวิยศาสตร์สำหรับเ็ดปฐมวัยได้อย่างถูกต้อง

ประเมินผล

     ประเมินตนเอง=  ตั้งใจฟังอาจารย์สอนเป็นอย่างดี และตอบคำถามเวลาที่อาจารย์ถาม
      
       ประเมินเพื่อน= เพื่อนๆตั้งใจฟังอาจารย์สอนทุกคน แต่เป็นบางคนที่อาจจะคุยกันบาง และช่วยกันตอบคำถาม

       ประเมินอาจารย์ = อาจารย์สอนเข้าใจง่าย เสียดังชัดเจน ทำทุกอย่างเพื่อให้นักศึกษาเข้าใจสิ่งที่สอน




บันทึกอนุทินครั้งที่1

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย (EAED3207)

อาจารย์ จินตนา  สุขสำราญ
วันอังคาร ที่ 19 เดือนสิงหาคม 2557

ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2557

         
        ในสัปดาห์นี้เป็นวันเปิดเทอม อาจารย์เเจกแนวการสอน(Course Syllabus) และอธิบายถึงรายวิชาในการเรียน ว่าควรมีอะไรบ้างในการเรียนการสอนในแต่ละ Week รวมถึงเกณฑ์ในการให้คะแนน


การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้

      นำเอาความรู้ที่ได้ไปเป็นเเนวทางในการเรียน และปรับปรุงในสิ่งที่บกพร่องให้ดียิ่งขึ้น