วันอาทิตย์ที่ 28 กันยายน พ.ศ. 2557

บันทึกอนุทินครั้งที่6


บันทึกผลการเรียนรู้ประจำสัปดาห์

วิชา การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย วันที่ 16 เดือน กันยายน  2557

ชื่อ นางสาว น้ำผึ้ง สุขประเสริฐ   กลุ่มเรียน 102 เวลา 14.10 น. - 17.30 น.




ความรู้ที่ได้รับ(The Knowledgo Gained  )


      สำหรับวันนี้การเรียนการสอนเริ่งจากการกิจกรรมการทำลูกยาง โดยอาจารย์เตรียมกระดาษและอุปกรณ์มาให้ แล้วสอนวิธีการทำลูกยาง ถ้านำกิจกรรมนี้ไปใช้กับเด็ก ให้เด็กได้สร้างผลงานด้วยตนเอง ตามทฤษฎี Constructivism ให้ผู้เรียนได้สร้างความรู้ด้วยตนเอง






และวันนี้ก็มีการนำเสนอบทความของเพื่อนๆ ดังนี้

บทความเรื่อง สอนเด็กปฐมวัยเรียนวิทย์จากเป็ดและไก่
      ผู้เขียน: ครูลำพรรณี  มืดขุนทด 
          เรียนรู้ผ่านนิทานเรื่อง หนูไก่คนเก่ง มีขั้นตอนดังนี้                        
                - นำเด็กร้องเพลงไก่ และทำท่าทางตามอิสระ              
                - สนทนาตั้งคำถามกับเด็ก "ไก่กับเป็ดเหมือนหรือต่างกันอย่างไร"            
                - ให้เด็กวาดภาพตามจินตนาการ และครูก็บันทึกคำพูดที่เด็กบอกลงภาพนั้นๆ


บทความเรื่อง 5 แนวทางให้เด็กทดลองวิทยาศาสตร์
           ผู้เขียน: ดร.เทพกัญญา  พรหมขัติแก้ว
           ขั้นตอนการจัดกิจกรรม         
           - ตั้งคำถามให้เด็กสามารถตรวจสอบด้วยตนเอง
           - ออกไปหาคำตอบด้วยกัน
           - เมื่อขั้น2 สำเร็จ เด็กจะเอาคำตอบที่พบมาตอบคำถามเอง
           - นำเสนอสิ่งที่เขาสำรวจตรวจสอบมาแล้วให้กับเพื่อนๆ     


บทความเรื่อง วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
       ผู้เขียน: มิสวัลลภา  ขุมหิรัญ
        การจัดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
       - สนับสนุนและส่งเสริมความอยากรู้อยากเห็นของเด็ก
       - สนับสนุนและส่งเสริมความต้องการในการตั้งคำถาม
       - ส่งเสริมการใช้ประสาทสัมผัสในการเรียนรู้ สำรวจ ตรวจสอบ จำแนกสิ่งต่างๆ
       - ส่งเสริมกระบวนการคิด
       - ส่งเสริมจินตนาการและความคิดร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์
 

บทความเรื่อง โลกของเราดำเนินอยู่ได้อย่างไร
ผู้เขียน: สสวท.
      ให้เด็กๆได้ทำกิจกรรมเรียนรู้ผ่านการสืบเสาะหาความรู้ การคิดละลงมือแก้ปัญหาด้วยประสบการณ์ตรงอย่างเหมะสมกับวัย และเป็นไปตามหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย




อาจารย์ได้สอนต่อโดยใช้ Power Point เรื่องทักาะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยมีเนื้อหาดังนี้














มื่ออาจารย์บรรยายเนื้อหาเสร็จ ก็ให้นักศึกษาเอา Mind Map ที่ไปทำมาในแต่ล่ะกลุ่มออก

 กิจกรรมให้ห้องเรียน










การนำไปใช้ (Application)

         สามารถนำความรู้ที่ได้จากในห้องเรียนนำไปใช้ในการเรียนการสอนในอนาคตได้ ได้รู้ทักษะกระบวนการคิดต่างๆที่เป็นประโยชน์สาสมารถนำไปประยุกต์และปรับใช้ในชีวิตจริงได้ เช่น การประดิษฐ์ลูกยางจากกระดาษ การทำ Mind Map ของเพื่อนแต่ล่ะกลุ่ม สามารถนำไปใช้สอนเด็กเรียนรู้เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ได้


การประเมินผล ( Evaluation )


  ประเมินตนเอง (Self)   = วันนี้ตั้งใจฟังอาจารย์สอนเป็นอย่างดี เวลาอาจารย์ถามคำถามก็ช่วยเพื่อนตอบ แต่ก็ตอบไม่ได้ทุกคำถาม


  ประเมินเพื่อน (Friend)  =  ส่วนใหญ่ก็จะตั้งใจเรียนตั้งใจฟังอาจารย์กันดี จะมีเพียงบางส่วนเท่านั้นที่คุยกัน และโดยภาพรวมแล้วเพื่อนๆก็คอยช่วยกันตอบคำถามอาจารย์ มีส่วนร่วมภายในห้องเรียนกันเกือบทุกคน   

 ประเมินครูผู้สอน (Teacher) =  อาจารย์มีการเรียนการสอนที่ต้องการให้นักศึกษามีการแสดงความคิดเกี่ยวกับเนื้อหาและอาจารย์ได้สรุปบทความของเพื่อนๆที่ออกมานำเสนอ และอธิบาย Mind Map ที่เพื่อนๆทำมา ให้นักศึกษาเข้าใจมากยิ่งขึ้น




 

 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น